-
Chateau Flaked Barley Nature (EBC 3-7)
- ผู้ขาย
- Castle Malting
- ราคาปกติ
- 80.00 ฿
- ราคาขาย
- 80.00 ฿
- ราคาปกติ
-
- ราคาต่อหน่วย
- ต่อ
OUT OF STOCK -
Malt Chateau Cara Crystal (EBC 140-160)
- ผู้ขาย
- Castle Malting
- ราคาปกติ
- 60.00 ฿
- ราคาขาย
- 60.00 ฿
- ราคาปกติ
-
- ราคาต่อหน่วย
- ต่อ
OUT OF STOCK -
Malt Chateau Cara Belgium (EBC 30-35)
- ผู้ขาย
- Castle Malting
- ราคาปกติ
- 60.00 ฿
- ราคาขาย
- 60.00 ฿
- ราคาปกติ
-
- ราคาต่อหน่วย
- ต่อ
OUT OF STOCK -
Malt Chateau Wheat Chocolat (EBC 800 -1100)
- ผู้ขาย
- Castle Malting
- ราคาปกติ
- 70.00 ฿
- ราคาขาย
- 70.00 ฿
- ราคาปกติ
-
- ราคาต่อหน่วย
- ต่อ
OUT OF STOCK -
Malt Chateau Cara Arome (EBC 80-100)
- ผู้ขาย
- Castle Malting
- ราคาปกติ
- 60.00 ฿
- ราคาขาย
- 60.00 ฿
- ราคาปกติ
-
- ราคาต่อหน่วย
- ต่อ
OUT OF STOCK -
Malt Chateau Cara Cafe (EBC 350-450)
- ผู้ขาย
- Castle Malting
- ราคาปกติ
- 70.00 ฿
- ราคาขาย
- 70.00 ฿
- ราคาปกติ
-
- ราคาต่อหน่วย
- ต่อ
OUT OF STOCK -
Malt Chateau Wheat Munich Light (EBC 14-18)
- ผู้ขาย
- Castle Malting
- ราคาปกติ
- 60.00 ฿
- ราคาขาย
- 60.00 ฿
- ราคาปกติ
-
- ราคาต่อหน่วย
- ต่อ
OUT OF STOCK -
Chateau Rice Husk (EBC 2-3)
- ผู้ขาย
- Castle Malting
- ราคาปกติ
- 40.00 ฿
- ราคาขาย
- 40.00 ฿
- ราคาปกติ
-
- ราคาต่อหน่วย
- ต่อ
OUT OF STOCK
- หน้าก่อนหน้านี้
- หน้า 2 จาก 2
มอลต์เบียร์ถือเป็นส่วนผสมหลักในการทำอาหารหรือเครื่องดื่มหลากหลายชนิด เนื่องจากมอลต์มีคุณสมบัติช่วยเปลี่ยนแป้งให้กลายเป็นน้ำตาลได้ง่าย อีกทั้งยังให้รสชาติที่เป็นเอกลักษณ์แก่อาหารและเครื่องดื่มนั้นๆ ซึ่งคุณสมบัติเหล่านี้จึงทำให้มอลต์เป็นวัตถุดิบที่เหมาะสำหรับการทำเบียร์ โดยมอลต์สามารถนำมาใช้ได้ในหลายรูปแบบ เช่น มอลต์แบบยังไม่แปรรูป (All-grain) และ มอลต์แบบแปรรูปแล้ว (มอลต์สกัด)
มอลต์เบียร์ คืออะไร?
มอลต์เป็นธัญพืชประเภทหนึ่งที่นิยมนำมาประกอบในเครื่องดื่มประเภทต่างๆ รวมถึงเบียร์ด้วยเช่นกัน เพราะคุณสมบัติหลักของมอลต์นั้นคือการเปลี่ยนแป้งให้เป็นน้ำตาลได้ง่ายๆ เพื่อนำไปเป็นอาหารให้ยีสต์นำไปย่อยอีกทอดหนึ่งเกิดเป็นแอลกอฮอล์ สำหรับมอลต์เบียร์นั้นจริงๆ แล้ว ก็คือมอลต์บาร์เลย์นั่นเอง
โดยมอลต์เบียร์จะแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้
โดยมอลต์เบียร์จะแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้
1.เบสมอลต์ (Base Malts)
เบสมอลต์ เป็น มอลต์ที่มีแรง (Diastatic Power) เปลี่ยนแป้งเป็นน้ำตาลสูง ซึ่งเป็นหนึ่งในอาหารสำคัญของยีสต์ที่จะเปลี่ยนจากน้ำตาลเป็นแอลกอฮอล์ ปริมาณของการใช้เบสมอลต์ที่เหมาะสมเพื่อให้ได้น้ำตาลมากพอคือ 60%-100% ของปริมาณมอลต์ทั้งหมด โดยปัจจัยในการเลือกใช้เบสมอลต์ได้แก่ Moisture Content, Potential Extract, สี, Protein Content, และ Diastatic Power
2.คาราเมลมอลต์ (Caramel Malts)
เป็นมอลต์ที่ช่วยเพิ่มความหวานและสีให้กับเบียร์ คาราเมล์มอลต์ที่มีค่าสีอ่อนมักจะให้ความหวานกว่าคาราเมลมอลต์สีเข้ม ในทางกลับกันคาราเมลมอลต์สีเข้มจะให้ความหวาน ที่มาพร้อมกับความ โทสตี้ นัตตี้ นอกจากความหวานและสี คาราเมลมอลต์ ยังช่วยเรื่องบอดี้เบียร์อีกด้วย
3.สเปเชียลตี้มอลต์ (Specialty Malts)
เป็นมอลต์ประเภทที่ใช้เพื่อเสริมความเป็นเอกลักษณ์ให้กับเบียร์นั้น ๆ ในเรื่องสีและกลิ่น ด้วยการนำไปคั่วให้เข้มหรืออ่อนตามความต้องการในการใช้ และจะใช้ในปริมาณที่ไม่มาก
เป็นมอลต์ประเภทที่ใช้เพื่อเสริมความเป็นเอกลักษณ์ให้กับเบียร์นั้น ๆ ในเรื่องสีและกลิ่น ด้วยการนำไปคั่วให้เข้มหรืออ่อนตามความต้องการในการใช้ และจะใช้ในปริมาณที่ไม่มาก
ตัวอย่างของมอลต์เบียร์แต่ละชนิด (Malts Barley)
อย่างที่ทราบกันว่า มอลต์เป็นตัวกำหนดสี กลิ่น รสชาติ บอดี้และปริมาณแอลกอฮอล์ของเบียร์ โดยเบียร์แต่ละสูตรมีปริมาณการใช้มอลต์ต่างกัน ส่งผลทำให้เบียร์แต่ละตัวมีลักษณะคาแรคเตอร์เป็นของตัวเอง เพื่อให้เข้าใจมากขึ้นเรามาลองทำความรู้จักกับมอลต์เบียร์แต่ละตัวกัน
1. เพลเอลมอลต์ (Pale Ale Malt)
เพลเอลมอลต์ คือเบสมอลต์สุดฮิตที่เหมาะกับการผลิตเบียร์ทุกสไตล์ เป็นทางเลือกที่ดีสำหรับผู้เริ่มต้นทำเบียร์หน้าใหม่ โดยรสชาติของน้ำวอร์ทตัวนี้จะออกไปทางมอลต์ตี้ และมีความกลมกล่อมกว่า Pilsen 2RS
สีที่ได้จากมอลต์ตัวนี้คือเหลืองปนทอง
สีที่ได้จากมอลต์ตัวนี้คือเหลืองปนทอง
หมายเหตุ: (น้ำวอร์ท คือ รสน้ำตาลที่ได้หลังจากนำมอลต์ไปแช่น้ำอุณหภูมิ 64-66c)
2. พิลส์เนอร์มอลต์ หรือพิลเซน (Pilsner Malt/Pilsen)
พิลส์เนอร์มอลต์ หรือพิลเซน คือมอลต์ที่ให้สีอ่อนที่สุดในบรรดาเบสมอลต์จากเบลเยี่ยมทั้งหมด ทำให้น้ำวอร์ปทมีรสชาติหวานและมอลต์ตี้ ทำให้พิลส์เนอร์มอลต์เหมาะกับการทำ Single-Step Infusion หรือ Decoction Masing
3. เวียนนามอลต์ (Vienna Malt)
เวียนนามอลต์ เป็นเบสมอลต์ที่มีสีอยู่ตรงกลางระหว่างพิลเซน (Pilsen) และ เพลเอล (Pale Ale) ทำให้น้ำวอร์ทที่ได้จะมีรสชาติมอลต์ตี้ ติดกลิ่นทอฟฟี่และกาแฟ เวียนนามอลต์เป็นมอลต์ที่มีผลต่อบอดี้ของเบียร์อีกด้วย
เวียนนามอลต์ เป็นเบสมอลต์ที่มีสีอยู่ตรงกลางระหว่างพิลเซน (Pilsen) และ เพลเอล (Pale Ale) ทำให้น้ำวอร์ทที่ได้จะมีรสชาติมอลต์ตี้ ติดกลิ่นทอฟฟี่และกาแฟ เวียนนามอลต์เป็นมอลต์ที่มีผลต่อบอดี้ของเบียร์อีกด้วย
4. คาราแคร์ มอลต์ (Cara Clair Malt)
คาราแคร์ มอลต์ เป็นคาราเมลมอลต์ที่มีผลต่อบอดี้ของเบียร์โดยตรงๆ และความคงตัวของโฟม แถมยังให้กลิ่นบิสกิตเบาๆ อีกด้วย
คาราแคร์ มอลต์ เป็นคาราเมลมอลต์ที่มีผลต่อบอดี้ของเบียร์โดยตรงๆ และความคงตัวของโฟม แถมยังให้กลิ่นบิสกิตเบาๆ อีกด้วย
5. บิสกิตมอลต์ (Biscuit Malt)
บิสกิตมอลต์ คือสเปเชียลตี้มอลต์ชนิดหนึ่งที่ให้รสชาติโทสตี้กับน้ำวอร์ท จุดเด่ของมอลต์ตัวนี้คือกลิ่นที่ให้ความรู้สึกเหมือนกับขนมปังปิ้งใหม่ๆ และมีความคล้ายบิสกิตอีกด้วย มอลต์ตัวทำให้น้ำวอร์ทมีสีน้ำตาลอ่อนไปถึงเข้ม
จะเห็นได้ว่ามอลต์เบียร์มีหลากหลายชนิดให้คนทำเบียร์ได้เลือกนำไปใช้พัฒนา หรือคิดค้นสูตรเบียร์ได้มากมายตามสไตล์ที่ชอบ และหากต้องการรู้จักคาแรคเตอร์ของมอลต์ให้มากขึ้น เราแนะนำให้ลองใช้มอลต์ไม่เกิน 2 ชนิด เพื่อให้รู้จักรสชาติน้ำวอร์ทที่ได้จากมอลต์ตัวนั้นๆ มากขึ้น และเมื่อคุณเข้าใจในส่วนผสมต่างๆ แล้ว ก็จะช่วยให้คุณสามารถสร้างสรรค์ผลงานได้อย่างหลากหลาย